โครงงานไข่เค็มจากกลิ่นใบเตยและตะไคร้
โครงงานไข่เค็มจากกลิ่นใบเตยและตะไคร้
ผู้จัดทำโครงงาน น.ส. ณัญชลี บำรุงถิ่น
บทคัดย่อ
เนื่องจากในชุมชนมีการเลี้ยงเป็ดไข่กันมากเพราะช่วงน้ีก็เป็นช่วงฤดูร้อนซึ่งร้อนกว่าปกติจะทำให้ไข่เป็ดเน่าเสียเร็วผจู้ดัทาโครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารเอง โดยการนำไข่เป็ดมาทำเป็นไข่เค็ม แต่เนื่องจากในชุมชนและท้องตลาดมีรสชาติของไข่เค็มแบบธรรมดา จึงได้มีแนวคิดที่จะพัฒนาไข่เค็มใหม่กลิ่นและรสชาติของใบเตยและตะไคร้และสามารถเป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพได้ และเพื่อเป็นการศึกษาหลักการทางวิทยาศาสตร์ว่า จะมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใดกับไข่ เค็มที่มีอยู่ตามท้องตลาด ในการทำโครงงานไข่เค็มจากกลิ่นใบเตยและตระไคร้จึงมีแนวคิดใหม่ ในการพัฒนาให้มีไข่เค็มโดยการมีกลิ่นและรสชาติของใบเตยและตระไคร้
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ เนื่องจากในชุมชนมีการเลี้ยงเป็ดไข่กันมากเพราะช่วงนี้ก็เป็นช่วงฤดูร้อนซึ่งร้อนกว่าปกติจะทำให้ไข่เป็ดเน่าเสียเร็วผู้จัดทำ โครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารเอง โดยการนา ไข่เป็ดมาทำเป็นไข่เค็ม แต่เนื่องจากในชุมชนและท้องตลาดมีรสชาติของไข่เค็มแบบธรรมดา จึงได้มีแนวคิดที่ จะพัฒนาไข่เค็มใหม่กลิ่นและรสชาติของใบเตยและตะไคร้ ในการทำโครงงานไข่เคม็จากกลิ่นใบเตยและตระไคร้จึงมีแนวคิดใหม่ในการพัฒนาให้มี ไข่เค็มโดยการมีกลิ่นและรสชาติของใบเตยและตระไคร้
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. พัฒนารสชาติและกลิ่นของไข่เค็มใหม่คุณภาพมากขึ้น
2. เพิ่มคุณค่าของไข่เค็มและสมุนไพรในท้องถิ่น
3. ศึกษากลิ่นที่นำมาทำไข่เค็ม
ขอบเขตการจัดทำโครงงาน
1. ดองไข่เค็มจำนวน 10 ฟอง
2. เวลาการดอง 3 สัปดาห์
3. ใช้เฉพาะสารสกัดจากใบเตยและตระไคร้เท่านั้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.เป็นการยืดอายใุห้กับไข่เค็ม
2.เป็นการเพิ่มมูลค่าของวตัถุดิบ
3. สามารถนำไข่เค็มมาทำเป็นอาชีพเสริมในครอบครัวในชุมชนได้ลดปัญหาการว่างงานเพิ่ม รายได้และลดรายจ่ายให้กับคนในชุมชน
สรุปผล
ไข่เค็มใบเตยและตะไคร้ที่ได้ทดลองผลออกมาเมื่อทดสอบแล้วกลิ่นหอม รสชาติเค็ม ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีกลิ่นที่หอม เนื่องมาจากกลิ่นของใบเตยและตะไคร้และได้กลิ่นรสชาติที่ แตกต่างจากไข่เค็มธรรมดา
ข้อเสนอแนะ
1. ผลการศึกษาพบว่าควรจะมีการใชว้ตัถุดิบหรือส่วนผสมที่มากขึ้น มีการนำสมุนไพรชนิดอื่น มาใช้ทำในการทดลองและควรพัฒนาต่อยอดของโครงงานให้สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่ สมบูรณ์
2. ไข่เค็มใบเตยและตะไคร้สามารถควรที่จะนำออกไปสู่ตลาดได้เหมือนไข่เค็มอื่นๆ
เอกสารอ้างอิง
https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=2510&s=tblareablog
ผู้จัดทำโครงงาน น.ส. ณัญชลี บำรุงถิ่น
บทคัดย่อ
เนื่องจากในชุมชนมีการเลี้ยงเป็ดไข่กันมากเพราะช่วงน้ีก็เป็นช่วงฤดูร้อนซึ่งร้อนกว่าปกติจะทำให้ไข่เป็ดเน่าเสียเร็วผจู้ดัทาโครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารเอง โดยการนำไข่เป็ดมาทำเป็นไข่เค็ม แต่เนื่องจากในชุมชนและท้องตลาดมีรสชาติของไข่เค็มแบบธรรมดา จึงได้มีแนวคิดที่จะพัฒนาไข่เค็มใหม่กลิ่นและรสชาติของใบเตยและตะไคร้และสามารถเป็นแนวทางในการประกอบ อาชีพได้ และเพื่อเป็นการศึกษาหลักการทางวิทยาศาสตร์ว่า จะมีความแตกต่างมากน้อยเพียงใดกับไข่ เค็มที่มีอยู่ตามท้องตลาด ในการทำโครงงานไข่เค็มจากกลิ่นใบเตยและตระไคร้จึงมีแนวคิดใหม่ ในการพัฒนาให้มีไข่เค็มโดยการมีกลิ่นและรสชาติของใบเตยและตระไคร้
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ เนื่องจากในชุมชนมีการเลี้ยงเป็ดไข่กันมากเพราะช่วงนี้ก็เป็นช่วงฤดูร้อนซึ่งร้อนกว่าปกติจะทำให้ไข่เป็ดเน่าเสียเร็วผู้จัดทำ โครงงานได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารเอง โดยการนา ไข่เป็ดมาทำเป็นไข่เค็ม แต่เนื่องจากในชุมชนและท้องตลาดมีรสชาติของไข่เค็มแบบธรรมดา จึงได้มีแนวคิดที่ จะพัฒนาไข่เค็มใหม่กลิ่นและรสชาติของใบเตยและตะไคร้ ในการทำโครงงานไข่เคม็จากกลิ่นใบเตยและตระไคร้จึงมีแนวคิดใหม่ในการพัฒนาให้มี ไข่เค็มโดยการมีกลิ่นและรสชาติของใบเตยและตระไคร้
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
1. พัฒนารสชาติและกลิ่นของไข่เค็มใหม่คุณภาพมากขึ้น
2. เพิ่มคุณค่าของไข่เค็มและสมุนไพรในท้องถิ่น
3. ศึกษากลิ่นที่นำมาทำไข่เค็ม
ขอบเขตการจัดทำโครงงาน
1. ดองไข่เค็มจำนวน 10 ฟอง
2. เวลาการดอง 3 สัปดาห์
3. ใช้เฉพาะสารสกัดจากใบเตยและตระไคร้เท่านั้น
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.เป็นการยืดอายใุห้กับไข่เค็ม
2.เป็นการเพิ่มมูลค่าของวตัถุดิบ
3. สามารถนำไข่เค็มมาทำเป็นอาชีพเสริมในครอบครัวในชุมชนได้ลดปัญหาการว่างงานเพิ่ม รายได้และลดรายจ่ายให้กับคนในชุมชน
สรุปผล
ไข่เค็มใบเตยและตะไคร้ที่ได้ทดลองผลออกมาเมื่อทดสอบแล้วกลิ่นหอม รสชาติเค็ม ไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย มีกลิ่นที่หอม เนื่องมาจากกลิ่นของใบเตยและตะไคร้และได้กลิ่นรสชาติที่ แตกต่างจากไข่เค็มธรรมดา
ข้อเสนอแนะ
1. ผลการศึกษาพบว่าควรจะมีการใชว้ตัถุดิบหรือส่วนผสมที่มากขึ้น มีการนำสมุนไพรชนิดอื่น มาใช้ทำในการทดลองและควรพัฒนาต่อยอดของโครงงานให้สามารถเป็นผลิตภัณฑ์ที่ สมบูรณ์
2. ไข่เค็มใบเตยและตะไคร้สามารถควรที่จะนำออกไปสู่ตลาดได้เหมือนไข่เค็มอื่นๆ
เอกสารอ้างอิง
https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=2510&s=tblareablog
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น